
ชุมชนบ้านตรัง ตำบลบ้านตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ชื่อนี้ได้มาตั้งแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทำนา จึงมีฟางข้าวหรือซัง จำนวนมากกองอยู่กลางหมู่บ้าน เดิมเรียกหมู่บ้านนี้ว่าหมู่บ้านกองซัง หรือบ้านซัง ปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นคำว่า บ้านตรัง มีชื่อเสียงในด้านผลิตภัณฑ์ผ้าทอลายจวนตานีหรือผ้าลีมา หัตถศิลป์บนผืนผ้าฝ้ายเหล่านี้สามารถบ่งบอกเรื่องราวเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านตรัง จากอดีต สู่ปัจจุบันได้ ถือเป็นมรดกทางภูมิปัญญาด้วยการสืบสานตำนานเส้นสายจนกล...
..อ่านต่ออาหารพื้นถิ่นของแต่ละชุมชน ถือเป็นภาษาอย่างหนึ่งที่สามารถบอกเล่าถึงเรื่องราวของวัฒนธรรม และวิถีชีวิตนั้น ๆ อย่างออกรส และตรงไปตรงมา “โลเคิล อร่อย” กิจการเพื่อสังคม ซึ่งเชื่อในแนวคิดนี้ และมีเป้าหมายในการสร้างเชฟท้องถิ่น โดยการนำเสนออาหารพื้นบ้านจานอร่อยจากชุมชน เพื่อให้คนเมืองได้มีโอกาสลิ้มรสอาหารที่อร่อยแปลกใหม่ และสัมผัสถึงวิถีวัฒนธรรมอาหารที่หลากหลายจากท้องถิ่น โลเคิล อร่อย ต่อยอดมาจาก Local Alike ก...
..อ่านต่อ“เทใจดอทคอม” พื้นที่กลางสำหรับคนที่อยากมีส่วนร่วมช่วยเหลือสังคม เว็บไซต์นี้มีจุดเริ่มต้นจากความต้องการช่วยเหลือกลุ่มคนที่อยากทำเรื่องดี ๆ เพื่อสังคม ซึ่งก็มีทั้งที่เป็นองค์กรไม่แสวงกำไร กลุ่มคน และกิจการเพื่อสังคม เพื่อให้พวกเขาเหล่านั้นสามารถทำเรื่องดี ๆ ให้เกิดขึ้นจริงและขยายผลต่อไป มูลนิธิเพื่อ “คนไทย” และ สถาบัน Change Fusion จึงร่วมกันสร้างพื้นที่กลางเพื่อชักชวนให้น้ำใจหลั่งไหลเข้ามาที่ตรงนี้ สมาชิกของเทใจดอทคอม ยังสามารถมีส่วน...
..อ่านต่อณ อุทยานแห่งชาติบูโด-สุไหงปาดี ผืนป่ารอยต่อ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีพื้นที่กว่า 200,000 ไร่ เป็นป่าดิบชื้นที่ปกคลุมเทือกเขาทั้งหมดมีไม้ขนาดใหญ่ และพรรณไม้หายาก สัตว์ป่าหายาก และนกหลายชนิดที่ใกล้จะสูญพันธุ์ รวมทั้ง “นกเงือก” สัตว์ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างความสมดุลของระบบนิเวศป่าดิบเมืองร้อน เป็นผู้แพร่กระจายเมล็ดพันธุ์ไม้ ซึ่งในสมัยก่อนสังคมส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องความสำคัญของนกเงือก แม้ชาวบ้านที่อยู่รอบผืนป่าก็ยัง...
..อ่านต่อหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 12 ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส เป็นหมู่บ้านชาวมุสลิมที่อยู่ชายแดน ไทย-มาเลเซีย จากอดีตนักต่อสู้เพื่อเอกราชมาลายาของกองทัพประชาชนมาลายา กรมที่ 10 สู่ผู้ร่วมพัฒนาชาติไทยเมื่อมีการลงนามในสัญญาสันติภาพ 3 ฝ่ายระหว่างรัฐบาลไทย มาเลเซีย และพรรคคอมมิวนิสต์มาลายา ในปี 2532 โดยรวมกันจัดตั้งเป็นหมู่บ้านชื่อ บ้านรัตนกิตติ 4 ต่อมาสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เสด็จตรวจ...
..อ่านต่อ“ปิดทองหลังพระไปเรื่อย ๆ แล้วทองจะล้นออกมาที่หน้าพระเอง” พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่เปรียบเสมือนแรงบันดาลใจในการทำงานของ มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ และ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ในการน้อมนำโครงการพระราชดำริกว่า 4,810 โครงการมาสานต่อ ด้วยหลักการดำเนินงานตามรอยเบื้องพระยุคลบาท คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ให้ชาวบ้านได้เข้ามามีส่วนร่วมแก้ปั...
..อ่านต่อบอนไซ หรือ ไม้แคระ เป็นศิลปะแขนงหนึ่งในการปลูกพืชแบบย่อส่วน จากเดิมที่เป็นไม้มีขนาดใหญ่ นำมาปลูกในกระถางที่เล็กลง หมั่นดูแลตัดแต่งกิ่ง กำหนดให้อยู่ในกระถางนั้นๆ เพื่อให้มีรูปทรงเป็นไปตามที่ผู้ปลูกต้องการ เป็นที่นิยมของกลุ่มคนที่รักต้นไม้ ชนิดของพันธุ์ไม้ที่นำมาทำเป็นบอนไซมีด้วยกันหลากหลาย ปัจจุบันไม้ที่ได้รับความนิยม และนำมาเพิ่มมูลค่าเป็นไม้ประดับได้อย่างน่ารักก็คือ ต้นมะพร้าว เทคนิควิธีการปลูกมะพร้าวบอนไซ มีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศอินโดนีเซีย ด้วยรูปทรงที่...
..อ่านต่อจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ลุกลามไปทั่วโลก และไม่รู้ว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใด ซึ่งความยากลำบากของการแก้ไขปัญหาโรคโควิด คือ การจัดความสมดุลระหว่างการควบคุมโรค กับการพยุงภาวะเศรษฐกิจ พี่น้องสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ก็ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์นี้ไม่น้อยไปกว่าพี่น้องในพื้นที่ส่วนอื่น ๆ ของประเทศ ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้จำนวนมากต้องอพยพกลับจากการทำงานที่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศมาเลเซีย ซึ่งรัฐบาลต้องทำการควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสไปพร้...
..อ่านต่อ"ปลูกป่า รักษ์ ต้นน้ำ - ปลูกจิต รักษ์ สิ่งแวดล้อม - ปลูก ทดแทน คุณแผ่นดิน" แผ่นป้ายบรรยายข้อความข้างต้นนี้ ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ของป่าชุมชนบ้านต้นตาล หมู่ ๒ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติบูงอ ป่าผืนนี้จึงยังคงสภาพของป่าดิบชื้น มีพรรณไม้นานาชนิด ขนาดใหญ่และเล็กขึ้นอยู่หนาแน่น และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายาก ความอุดมสมบูรณ์เช่นนี้ยังคงอยู่ได้ ด้วยความร่วมมือของชุมชนบ้านต้นตาล ชุมชนที...
..อ่านต่อ“เมืองท่าสาปที่ราบริมน้ำปัตตานี มีเรื่องราวความเป็นมาที่ดี ให้ได้จดจำ ว่านี่คือเมืองอุดมสมบูรณ์ เมืองท่าสาปมีคมนาคมที่สะดวก รวดเร็ว ตำบลก้าวหน้า การศึกษาก้าวไกล เรารักและคอยใส่ใจทุกคน อยู่ที่ใด ก็ไม่เท่าสุขใจเหมือนที่นี่ จะกี่ร้อยวันพันปี ที่นี่จะเป็นจุดรวมสำคัญ และในวันนี้ ทุกคนจะรวมเป็นหนึ่ง แม่น้ำจะคอยเชื่อมใจ และหล่อเลี้ยงเรา ป่าไม้ ภูเขา ถ้ำ นั้นช่างสมบูรณ์ นี่เป็นจุดเล็กๆ ที่สร้างทำเลการค้า สืบทอดกันมายาวนาน เก็บรักษาไว้ และนี่คือเมืองแห่งความรุ่งเรือง ท่าสาปเป็นหนึ่งเดียว&r...
..อ่านต่อ